การต่อภาษีรถยนต์หรือการต่อทะเบียนรถยนต์นั้นเป็นเรื่องสำคัญมากที่ต้องทำตามกฎหมายนี้ซึ่งหากเรามีรถยนต์สิ่งที่ช่วยเราหากเกิดความเสี่ยงขับรถยนต์ เช่น อาจเกิดอุบัติเหตุที่เราไม่คาดคิดก็เป็นได้ อย่างเช่นอาจจะมีอุบัติเหตุหลายอย่างไม่ชวนและการต่อภาษีรถยนต์ก็ยังบังคับให้ทุกคนทำทุกปีล่วงหน้าได้ทะเบียนหมดอายุไม่เกิน 3 เดือนรีวิวแต่ต้องจำไว้ว่าการต่อภาษีรถยนต์นั้นจำเป็นต้องทำทุกปี เรื่องนี้กฎหมายบังคับเราทุกคนหากชำระล่าช้าก็จะทำให้มีปัญหาตามมมาแน่นอน การติดต่อเป็นระยะเวลาจะถูกระงับทะเบียนและต้องขอเครื่องเปลี่ยนใหม่ที่ทำให้ยุ่งยากเหลือเกินเราก็ต้องทำทุกๆปี ดังนั้น ในบทความนี้มารู้พร้อมๆกันว่าการต่อภาษีนั้นสำคัญอย่างไร? การต่อภาษีรถยต์ต่ออย่างไร? ต่อภาษีรถยนต์เท่าไหร่? ขนาดซีซีของรถต้องจ่ายเท่าไหร่? เสียภาษีรถยนต์ที่ไหนได้บ้าง?
การต่อภาษีรถยนต์สำคัญมากเพราะเป็นหน้าที่ของรถทุกคันที่ต้องจำเป็นประจำทุกปี ถ้าหากขาดต่อไม่ว่าจะมีเหตูผลอะไรก็ตาม ตำรวจสามารถเปรียบทียบปรับได้นั่นเอง ปรับได้ไม่เกิน 2,000 บาท ซึ่งการต่อภาษีหรือทะเบียนรถนั้นสามารถต่อล่วงหน้าได้ถึง 90 วันด้วยกัน แต่ถ้าเกิดกรณีต่อภาษีช้ากรมการขนส่งจะเรียกเก็บเบี้ยปรับเพิ่มเติมร้อยละ 1% ต่อเดือน ยกตัวอย่างคุณต้องเสียภาษีรถประจำปี ปีละ 2,000 บาท หากคุณลืมต่อภาษี 3 เดือน เท่ากับคุณต้องเสียเบี้ยปรับเท่ากับ 30 บาทนั่นเอง และที่สำคัญหากขาดต่อภาษีเกิน 3 ปีจะถูกระงับการใช้ทะเบียนอีกด้วย
ข้อสำคัญของการต่อภาษีรถยนต์ คือ การต่อภาษีรถยนต์ จะต้องต่อทุกปี ห้ามขาดเด็ดขาด ส่วนในกรณีขาดการต่อภาษีติดต่อกัน 3 ปี ก็จะถูกระงับการใช้ทะเบียน ทำให้เกิดปัญหาและความยุ่งยากในการทำเรื่องขอทะเบียนใหม่ ซึ่งมีข้อดีตรงที่หากเรางานยุ่งมาก เรายังสามารถจัดสรรเวลาสักวันใน 3 เดือนเพื่อไปต่อภาษีรถยนต์ล่วงหน้าได้ แค่เราทำบันทึกแจ้งเตือนไว้ในโทรศัพท์ เพื่อแจ้งเตือนเมื่อใกล้ถึงกำหนดเวลานี่ก็จะช่วยได้นั่นเอง
รถที่ต้องต่อภาษี ได้แก่ รถยนต์ส่วนบุคคล รถนิติบุคคล รวมถึงมอเตอไซค์ โดยกำหนดเงื่อนไขว่าต้องเข้ารับการตรวจสภาพประจำปีก่อนต่อภาษีดังนี้คือ ถ้าเป็นกรณีรถมอเตอร์ไซค์อายุการใช้งานเกิน 5 ปี ส่วนถ้าเป็นกรณีรถยนต์อายุการใช้งานเกิน 7 ปี นั่นเอง พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ รถทุกคันที่วิ่งบนท้องถนนต้องทำ พ.ร.บ.เนื่องจาก สาเหตุมาจากเมื่อก่อนเกิดเหตุบนท้องถนนมีคนเสียชีวิต บาดเจ็บ คนชนไม่มีกำลังทรัพย์ในการดูแลค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นค่ารักษาพยาบาล หรือแม้กระทั่งค่าปลงศพ รัฐบาลจึงออกเป็นกฎหมายบังคับ เพราะ พ.ร.บ. ตัวนี้จะเข้ามาเยียวยาดูแลผู้เสียหายแทนที่นั่นเอง เรามักเรียก พ.ร.บ. ตัวนี้สั้น ๆ ว่า พ.ร.บ. ภาคบังคับนั่นเอง